ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เตือนนายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานจัดเวลาพักให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง ฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท , กสร. 28 มิย. 61

 

นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กำหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักระหว่างทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง หลังจากที่ลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมงติดต่อกัน เพื่อให้ลูกจ้างได้ผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย ความเครียดจากการทำงาน ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากความเหนื่อยล้าที่ต้องทำงานติดต่อกันนานเกินไป หรือมีเวลาทำกิจธุระส่วนตัว ทั้งนี้นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าแบ่งเวลาพักเป็นช่วงๆ ก็ได้ แต่รวมกันแล้วใน 1 วัน ต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง

 

นายอนันต์ชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า กสร.จึงขอให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท นายจ้าง ลูกจ้างที่มีข้อสงสัยหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ที่ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1 ถึง 10 สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด หรือโทรศัพท์สายด่วน 1506 กด 3

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เตือนนายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานจัดเวลาพักให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง ฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท

 

นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กำหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักระหว่างทำงานไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชั่วโมง หลังจากที่ลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมงติดต่อกัน เพื่อให้ลูกจ้างได้ผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อย ความเครียดจากการทำงาน ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากความเหนื่อยล้าที่ต้องทำงานติดต่อกันนานเกินไป หรือมีเวลาทำกิจธุระส่วนตัว ทั้งนี้นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าแบ่งเวลาพักเป็นช่วงๆ ก็ได้ แต่รวมกันแล้วใน 1 วัน ต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง

 

นายอนันต์ชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า กสร.จึงขอให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท นายจ้าง ลูกจ้างที่มีข้อสงสัยหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ที่ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1 ถึง 10 สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด หรือโทรศัพท์สายด่วน 1506 กด 3



29/Jul/2018

เกาะติดข่าวกฎหมาย

>> อ่านต่อ

บทความพิเศษ

 7 มีนาคม 67 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร 7 มีนาคม 67 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร

ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร   ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67   &nb...

UPDATE 16-02-66: การแก้ไขกฎหมายเพื่อส่งเสริมการทำงานนอกสถานที่ทำงาน , THE STANDARD WEALTH UPDATE 16-02-66: การแก้ไขกฎหมายเพื่อส่งเสริมการทำงานนอกสถานที่ทำงาน , THE STANDARD WEALTH

ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา เราได้เห็นการเปลี่ยนแปลงในวิธีการทำงานที่ลูกจ้างสามารถทำงานที่บ้านมากขึ้น...

>> บทความอื่นๆ

กฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.)
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
พระราชกำหนด การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระทรวงแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กรมจัดหางาน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สำนักงานประกันสังคม
สำนักแรงงานสัมพันธ์
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว
สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
ศาลแรงงานกลาง
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร
คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา