ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความอยุติธรรม (justice delayed is justice denied) เฉกเช่นคำขวัญศาลแรงงานที่ว่า "ประหยัด สะดวก รวดเร็วและเที่ยงธรรม" ก็ด้วยการตระหนักว่าความยุติธรรมมิใช่เพียงการตัดสินโดยองค์กรตุลาการที่เป็นกลางเท่านั้น หากต้องมิใช่กระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน เพราะคำตัดสินที่มาอย่างเชื่องช้าอาจทำให้ผู้ได้รับความเสียหายไม่สนใจต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งยังทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างคู่ความที่ไม่มีความเท่าเทียมกัน

กฎกระทรวง กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖ : อัตราเงินสมทบตั้งแต่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป

ตามที่ได้มีกฎกระทรวง “กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม” ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีผลบังคับใช้ย้อนหลังตั้งแต่ 1 มกราคม 2556 นั้น

 

การจ่ายเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ในปี 2557  ของนายจ้างที่อยู่ในข่ายบังคับตามพระราชบัญญัติประกันสังคม  และผู้ประกันตนตามมาตรา 39 มีรายละเอียดดังนี้    

 

1.ผู้ประกันตนมาตรา 39

ตั้งแต่งวดเดือนมกราคม 2557 เป็นต้นไป  โดยให้ผู้ประกันตนนำส่งเงินสมทบเดือนละ 432 บาท

 

2. ผู้ประกันตนมาตรา 33

การนำส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ตั้งแต่งวดค่าจ้าง เดือนมกราคม 2557 เป็นต้นไป ให้นำส่งในอัตราฝ่ายละ ร้อยละ 5 ของค่าจ้าง

หักเงินสมทบส่งประกันสังคม 5% (15,000 * 5% = 750 บาท/เดือน) ซึ่ง 5 % มาจาก โปรดดูตารางบัญชีอัตราเงินสมทบ บัญชี ข. (ข้อ 1.3 เท่ากับ 1.5 + ข้อ 2.3 เท่ากับ 3 และว่างงาน เท่ากับ 0.5 (ไม่มีระบุในตาราง เนื่องจากข้อมูลคงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง รวมทั้งหมด 5%)

 

สำหรับผู้ที่มีค่าจ้างต่ำกว่า 1,650 บาท ให้คำนวณจาก 1,650 บาท

ผู้ที่ได้รับค่าจ้างเกินกว่า 15,000 บาท ให้คำนวณจาก 15,000 บาท

 

ดูกฎกระทรวง กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ฉบับเต็ม คลิกหรือกดตรงนี้ครับ



23/Jan/2014

เกาะติดข่าวกฎหมาย

>> อ่านต่อ

บทความพิเศษ

 7 มีนาคม 67 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร 7 มีนาคม 67 : ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร

ผ่อนรถไม่ไหว อยากจะคืนรถทำอย่างไร   ทนายพรนารายณ์ ทุยยะค่าย 6 มีค. 67   &nb...

UPDATE 16-02-66: การแก้ไขกฎหมายเพื่อส่งเสริมการทำงานนอกสถานที่ทำงาน , THE STANDARD WEALTH UPDATE 16-02-66: การแก้ไขกฎหมายเพื่อส่งเสริมการทำงานนอกสถานที่ทำงาน , THE STANDARD WEALTH

ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา เราได้เห็นการเปลี่ยนแปลงในวิธีการทำงานที่ลูกจ้างสามารถทำงานที่บ้านมากขึ้น...

>> บทความอื่นๆ

กฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.)
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
พระราชกำหนด การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระทรวงแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กรมจัดหางาน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
สำนักงานประกันสังคม
สำนักแรงงานสัมพันธ์
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว
สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
ศาลแรงงานกลาง
คณะกรรมาธิการการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎร
คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา